เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

รายวิชาภาษาไทย : เป้าหมายของการเรียนรู้จากขั้นพื้นฐานไปสู่ขั้นสูง
1. เพื่อใช้ภาษาในการรับรู้และสื่อความต้องการ
2. เพื่อใช้ภาษาเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ให้ความเข้าใจต่อโลกและปรากฏการณ์ต่างๆ

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Main


Mind Mapping


ขอบข่ายเนื้อหากลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
Quarter3 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
Quarter 1
Quarter 2
Quarter 3
Quarter 4
สาระ/หลักภาษา
สาระ/หลักภาษา
สาระ/หลักภาษา
สาระ/หลักภาษา
๑. พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
๒. อักษรสามหมู่ ,การผันอักษร
๓. สระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป
/สระเสียงสั้น เสียงยาว
๔. คำ พยางค์
๕. ประโยค ๒ ส่วน,ประโยค ๓ ส่วน
๖. คำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
๗. คำควบกล้ำแท้,คำควบกล้ำไม่แท้
๘. มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
๙. มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา 
๑๐. อักษรนำ
. พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
. การแจกลูก สะกดคำ
. คำประสม
.
สระลดรูป สระเปลี่ยนรูป
. ประโยค
    - การแต่งประโยค
. การใช้พจนานุกรม
. คำควบกล้ำ
. มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
. มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา 

. พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
๒. การแจกลูก สะกดคำ
๓. คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
๔. คำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
๕. การแต่งประโยค
๖. คำควบกล้ำแท้
๗. คำควบกล้ำไม่แท้
๘. คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
๙.คำคล้องจอง
วรรณกรรม
 - นิทานสระสนุก
- นิทานกินหาง
วรรณกรรม
 - คุณกบกับคุณคางคกเพื่อนรัก
- นิทานอีสป
วรรณกรรม
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
วรรณกรรม

เวลาเรียน ๑๑ สัปดาห์ (๕๕ ชั่วโมง)
เวลาเรียน ๙ สัปดาห์ (๔๕ ชั่วโมง)
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๕๐ ชั่วโมง)




ขอบข่ายเนื้อหาการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter3 ปีการศึกษา ๒๕๕๙

สัปดาห์

วรรณกรรม/ตอน

แก่นเรื่อง

หลักภาษา

เป้าหมายของการเรียนรู้หลักภาษา
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
ความตื่นเต้นและการผจญภัยที่ลุ้นระทึกของสีเทาและพ้องเพื่อน
พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ได้ นำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ป้าวัวกับหูกาง
การดำรงชีวิตของสัตว์ และความเมตตากรุณาช่วยเหลือกัน
การแจกลูก สะกดคำ



นักเรียนเข้าใจและสามารถเขียนแจกลูกคำ และสะกดคำได้ถูกต้อง นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน โรงนา

ความเมตตาและการแบ่งปันกันอย่างเอื้ออาทร
คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา

นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา สามารถนำคำในมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรามาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บึงใหญ่กลางทุ่ง
ความพยายาม และการพบเจอกับสิ่งใหม่ๆ บททดสอบที่ท้าทาย
คำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา

นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา สามารถนำคำในมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรามาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บินได้แต่มองไม่เห็น
การร่วมด้วยช่วยกันแก้ไขปัญหา
การแต่งประโยค

นักเรียนสามารถอ่านและแต่งประโยคได้อย่างถูกต้อง นำประโยคมาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน สวนผลไม้
การผจญภัยกับสถานที่ใหม่ และการมีน้ำใจช่วยเหลือผู้ที่ลำบาก
คำควบกล้ำแท้

นักเรียนสามารถอ่าน และเขียน แยกแยะคำควบกล้ำแท้กับคำควบกล้ำไม่แท้ได้ สามารถนำคำคำควบกล้ำแท้มาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บ่างช่างร่อน
การค้นพบสิ่งที่ตนเองเป็น
คำควบกล้ำไม่แท้

นักเรียนสามารถอ่าน และเขียน แยกแยะคำควบกล้ำแท้กับคำควบกล้ำไม่แท้ได้ สามารถนำคำคำควบกล้ำไม่แท้มาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ผจญป่า
การเผชิญกับสิ่งใหม่ สิ่งที่ท้าทายด้วยตัวเอง
คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์

นักเรียนสามารถอ่านและเขียน แยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้ เข้าใจและนำมาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ได้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน กลับสู่อ้อมอก
ความห่วงใย และการช่วยเหลือซึ่งกันและกันโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
คำคล้องจอง
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำคล้องจองได้อย่างถูกต้องสร้างสรรค์ และสามารถแต่งคำคล้องจองเองได้อย่างง่ายๆ ใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานอ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
๑๐
ถอดบทเรียน
คุณค่าของวรรณกรรมและการนำไปใช้
ทบทวนความรู้ และถอดบทเรียนใน Quarter 3

นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้ในเรื่องที่เรียนในQuarter 3 และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้  สามารถสรุปใจความสำคัญ สาระสำคัญของหนังสือที่อ่านและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งเข้าใจในหลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter 3 สามารถอธิบาย หลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter 3 ได้

 ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
Quarter 3 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
หน่วยการเรียน วรรณกรรม
:
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
สาระ/หลักภาษาไทยพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒
บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓
ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕
คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒
เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓
พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔
.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕
มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ได้ นำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ป้าวัวกับหูกาง
สาระ/หลักภาษาไทย
การแจกลูก สะกดคำ

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจและสามารถเขียนแจกลูกคำ และสะกดคำได้ถูกต้อง นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน โรงนา
สาระ/หลักภาษาไทย
คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
อ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา สามารถนำคำในมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรามาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บึงใหญ่กลางทุ่ง
สาระ/หลักภาษาไทย
คำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา สามารถนำคำในมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรามาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิต


สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บินได้แต่มองไม่เห็น
สาระ/หลักภาษาไทย
การแต่งประโยค

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ


ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่านและแต่งประโยคได้อย่างถูกต้อง นำประโยคมาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน สวนผลไม้
สาระ/หลักภาษาไทย
คำควบกล้ำแท้

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่าน และเขียน แยกแยะคำควบกล้ำแท้กับคำควบกล้ำไม่แท้ได้ สามารถนำคำคำควบกล้ำแท้มาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บ่างช่างร่อน
สาระ/หลักภาษาไทย
คำควบกล้ำไม่แท้

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่าน และเขียน แยกแยะคำควบกล้ำแท้กับคำควบกล้ำไม่แท้ได้ สามารถนำคำคำควบกล้ำไม่แท้มาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ผจญป่า
สาระ/หลักภาษาไทย
คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่านและเขียน แยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้ เข้าใจและนำมาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ได้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน กลับสู่อ้อมอก
สาระ/หลักภาษาไทย
คำคล้องจอง

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู

ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
ป.๑/๔ ต่อคำคล้องจองง่ายๆ


ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำคล้องจองได้อย่างถูกต้องสร้างสรรค์ และสามารถแต่งคำคล้องจองเองได้อย่างง่ายๆ ใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานอ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

๑๐

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
สาระ/หลักภาษาไทย
ทบทวนความรู้
ถอดบทเรียนใน Quarter3


ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู

ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
ป.๑/๔ ต่อคำคล้องจองง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
ป.๑/๒ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองตามความสนใจ

นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้ในเรื่องที่เรียนใน Quarter 3 และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้  สามารถสรุปใจความสำคัญ สาระสำคัญของหนังสือที่อ่านและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งเข้าใจในหลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter 3 สามารถอธิบาย หลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter 3 ได้



ปฏิทินการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
Quarter 3 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา

Week
Input
Process
Output
Outcome
๒๕ – ๒๘
ต.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- ทบทวนสิ่งที่รู้แล้ว ทบทวนหลักภาษา
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
- พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
คำถาม :
นักเรียนเห็นอะไรจากปกนี้บ้าง คิดว่านิทานเล่มนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร?
- นักเรียนคิดว่าสีเทาคือสัตว์ชนิดใด?
เครื่องมือคิด :
- Key Questions 
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
- บัตรภาพ/บัตรคำ
- ทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทยที่ได้เรียนรู้ผ่านมาใน Quarter2 และสิ่งที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติมใน Quarter3
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- ครูให้นักเรียนดูหน้าปกวรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
- นักเรียนแต่ละคนเขียนคาดเดาเรื่องเกี่ยวกับวรรณกรรมพร้อมวาดภาพประกอบ
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับวรรณกรรมจากสิ่งที่นักเรียนร่วมกันคาดเดา
- ครูทบทวนเกี่ยวกับพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ โดยการใช้บัตรภาพ และบัตรคำ
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และการนำไปใช้สื่อสารอย่างเหมาะสม
- นักเรียนเขียนตามคำบอก
- นักเรียนทำใบงาน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ และทบทวนกิจกรรมที่อยากเรียนรู้

ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่อยากเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ชิ้นงาน :
- วาดภาพคาดเดาเรื่อง
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- ใบงาน
ความรู้ :
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ได้ นำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน


Week
Input
Process
Output
Outcome
 ๓๑ – ๔
พ.ย.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ป้าวัวกับหูกาง
- การแจกลูก สะกดคำ
คำถาม :
ทำไมสีเทาจึงพลัดพลาดจากแม่ แล้วนักเรียนคิดว่าสีเทาคือตัวอะไร?
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Key Questions 
- Show and Share 
- พฤติกรรมสมอง
- Web
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ป้าวัวกับหูกาง
- บัตรภาพ/บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ป้าวัวกับหูกาง พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง และทำการ์ตูนช่องสรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นในตอนนี้
- ครูแจกบัตรภาพสระให้นักเรียนคนละแผ่น ให้นักเรียนเขียนคำศัพท์ที่สะกดด้วยสระนั้นๆ ใส่กระดาษ จากนั้นเวียนบัตรภาพสระไปเรื่อยๆ จนครบ ๑๐ คำ
- นักเรียนนำเสนอกระดาษคำศัพท์ของตนเอง
- ครูทบทวนการอ่านเขียนแจกลูกคำ โดยนำคำศัพท์ที่ได้จากวรรณกรรมสีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ป้าวัวกับหูกาง
- นักเรียนเขียน Web แจกลูกสระที่ครูกำหนดให้
- ครูนำบัตรคำมาให้นักเรียนดู และให้ช่วยสะกดคำ
- นักเรียนทำบัตรภาพ พร้อมกับเขียนสะกดคำ และคำที่สมบูรณ์ 
- สรุปและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์ สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตามความสนใจ (นิทาน การ์ตูน ความเรียง ฯลฯ)

ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- ออกแบบบัตรภาพการสะกดคำ
นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน :
- การ์ตูนช่อง
- Web แจกลูกสระ
- บัตรภาพสะกดคำ
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถเขียนแจกลูกคำ และสะกดคำได้ถูกต้อง นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน




Week
Input
Process
Output
Outcome
๗ – ๑๑
พ.ย.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน โรงนา
- คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
คำถาม :
นักเรียนคิดว่าสีเทามีลักษณะคล้ายๆ กับสัตว์ชนิดใด เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นนั้น?
เครื่องมือคิด :
- Key Questions 
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน โรงนา
- บัตรภาพ/บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน โรงนา พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง และทำการ์ตูนช่องสรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นในตอนนี้
- นักเรียนแต่ละคนเขียนคำที่ตนเองชื่นชอบ คนละ ๑ คำ พร้อมกับแชร์คำศัพท์ร่วมกัน
- ให้นักเรียนสังเกตคำที่ตนเอง และที่เพื่อนๆ เขียน แล้วช่วยกันจัดหมวดหมู่ เพื่อเป็นการทบทวนก่อนเรียนเรื่องมาตราตัวสะกด
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับหลังจากที่นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่
- นักเรียนเขียนคำศัพท์ที่จัดหมวดหมู่ลงในสมุด
- ครูทบทวนเรื่องมาตราตัวสะกดตรงมาตรา โดยใช้บัตรคำที่มีภาพประกอบตามตัวสะกด(ง ม ย ว)
- นักเรียนทำใบงานมาตราตัวสะกด(ง ม ย ว) ที่ครูกำหนดให้ พร้อมทั้งวาดภาพประกอบให้สวยงาม
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
-วิเคราะห์ จัดหมวดหมู่คำศัพท์ตัวสะกดตรงมาตรา
ชิ้นงาน :
- การ์ตูนช่อง
- ใบงาน
ความรู้ :
นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา สามารถนำคำในมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรามาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน




Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๔ – ๑๘
พ.ย.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บึงใหญ่กลางทุ่ง
- คำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
คำถาม :
สีเทารู้จักสัตว์ชนิดใดเพิ่มบ้าง แล้วสีเทาไปที่บึงใหญ่กลางทุ่งเพื่อทำอะไร?
เครื่องมือคิด :
- Key Questions 
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บึงใหญ่กลางทุ่ง
- ตารางมาตราตัวสะกด
- บัตรภาพ/บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บึงใหญ่กลางทุ่ง พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง และทำการ์ตูนช่องสรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นในตอนนี้
- ครูนำตารางมาตราตัวสะกด ที่ครูเขียนแยกเป็นสีๆ มาให้นักเรียนสังเกต พร้อมใช้คำถามกระตุ้นการคิด
- ครูและนักเรียนร่วมกันสังเกต และช่วยกันวิเคราะห์ว่าเพราะเหตุใด มาตราบางมาตราถึงมีสะกดที่หลากหลาย
- นักเรียนทำใบงานทบทวนเรื่องมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรา
- ครูนำบัตรคำที่มีตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรามาให้นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับหลังจากที่นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่ ครูเพิ่มคำยากที่นักเรียนไม่รู้จักในแต่ละหมวดหมู่
- นักเรียนสร้าง Window 4 บาน จัดเป็นแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ เลือกเขียนคำศัพท์ ๓ คำ พร้อมกับแต่งประโยค
- นักเรียนนำเสนอชิ้นงานของตนเอง
- ครูและนักเรียนทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่องมาตราตัวสะกดพร้อมๆ กันอีกครั้ง

ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
- การวิเคราะห์จัดหมวดหมู่คำศัพท์ตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรา
นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
- การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับมาตราตัวสะกดที่ตามความสนใจ
ชิ้นงาน :
- การ์ตูนช่อง
- ใบงาน
- Window 4 บาน
ความรู้ :
นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา สามารถนำคำในมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรามาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน




Week
Input
Process
Output
Outcome
๒๑ – ๒๕
พ.ย.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บินได้แต่มองไม่เห็น
- การแต่งประโยค
คำถาม :
นักเรียนคิดว่า เพราะเหตุใดสีเทาจึงมองไม่เห็นในตอนกลางวัน?
เครื่องมือคิด :
- Key Questions 
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บินได้แต่มองไม่เห็น
- แถบประโยค
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บินได้แต่มองไม่เห็น พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง และทำการ์ตูนช่องสรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นในตอนนี้
- ครูนำแถบประโยคมาแยกเป็น ๓ ส่วน ให้นักเรียนช่วยกันสังเกตแล้วต่อให้เป็นประโยคที่สมบูรณ์
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้เกี่ยวกับการแต่งประโยค จะต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง
- นักเรียนเขียนประโยคที่ช่วยกันต่อลงในใบงานตาราง
- ครูแจกการ์ดเปล่าให้นักเรียนคนละ ๓ แผ่น ให้นักเรียนแต่งประโยคตามที่ครูกำหนด
- นักเรียนนำคำที่เขียนบนการ์ดมาเขียนลงในกระดาษที่ครูเตรียมไว้ให้สมบูรณ์
- นักเรียนนำเสนอชิ้นงานของตนเอง
- นักเรียนเขียนตามคำบอก โดยครูจะบอกเป็นประโยคง่ายๆ ๕ ประโยค
- ครูและนักเรียนทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่องการแต่งประโยคที่ถูกต้องไปพร้อมๆ กันอีกครั้ง



ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน :
- การ์ตูนช่อง
- ใบงาน
- การ์ดประโยค
ความรู้ :
นักเรียนสามารถอ่านและแต่งประโยคได้อย่างถูกต้อง นำประโยคมาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน




Week
Input
Process
Output
Outcome
๒๘ – ๒
ธ.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน สวนผลไม้
- คำควบกล้ำแท้
คำถาม :
- ป้าวัวพาสีเทาไปที่ใด พบเจอกับใครบ้าง?
- นักเรียนจะแยกแยะคำควบกล้ำแท้ กับคำควบกล้ำไม่แท้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Key Questions 
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน สวนผลไม้
- บิงโกคำควบกล้ำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน สวนผลไม้ พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง และทำการ์ตูนช่องสรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นในตอนนี้
- ครูนำตะกร้าที่แยกเป็นคำควบกล้ำ ร ล ว มา ๓ ตะกร้า พร้อมกับบัตรคำควบกล้ำที่หลากหลายมาให้นักเรียนช่วยกันแยกคำ
- นักเรียนแต่ละคนเลือกบัตรคำ ๑ ใบ หย่อนลงในตะกร้าที่คิดว่าถูกต้องที่สุด
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ และตรวจเช็คความถูกต้องพร้อมๆ กันอีกครั้ง
- นักเรียนเลือกคำควบกล้ำ ร ล ว มาอย่างละ ๓ คำ พร้อมกับแต่งประโยค
- นักเรียนเล่นเกมบิงโกคำควบกล้ำ
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้คำควบกล้ำที่อยู่ในเกม พร้อมกับอธิบายลักษณะของคำควบแท้
- นักเรียนทำใบงาน
- นักเรียนเขียนตามคำบอก พร้อมกับแต่งประโยคจากคำที่เขียนตามคำบอก
- ครูและนักเรียนทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่องคำควบกล้ำแท้ไปพร้อมๆ กันอีกครั้ง


ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
ทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องคำควบกล้ำแท้ที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน :
- การ์ตูนช่อง
- ใบงาน
ความรู้ :
นักเรียนสามารถอ่าน และเขียน แยกแยะคำควบกล้ำแท้กับคำควบกล้ำไม่แท้ได้ สามารถนำคำคำควบกล้ำแท้มาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน



Week
Input
Process
Output
Outcome
๕ – ๙
ธ.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บ่างช่างร่อน
- คำควบกล้ำไม่แท้
คำถาม :
- สีเทาคือสัตว์ชนิดใด หากนักเรียนเป็นสีเทานักเรียนจะตามหาแม่อย่างไร?
- นักเรียนจะแยกแยะคำควบกล้ำแท้ กับคำควบกล้ำไม่แท้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Key Questions 
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บ่างช่างร่อน
- หนังสือนิทานเรื่อง สร้อยคอของสิงโต
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บ่างช่างร่อน พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง และทำการ์ตูนช่องสรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นในตอนนี้
- ครูอ่านนิทานเรื่อง สร้อยคอของสิงโต ให้นักเรียนฟัง พร้อมกับใช้คำถามกระตุ้นคิด
- ครูเขียนคำควบกล้ำไม่แท้ที่เจอในนิทานบนกระดาน ให้นักเรียนช่วยกันอ่านออกเสียง และสังเกตคำ
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้การอ่าน การเขียนคำควบกล้ำไม่แท้ และที่พบเจอในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนเลือกคำควบกล้ำไม่แท้มาแต่งประโยค ๓ ประโยค
- ครูนำบัตรภาพติดไว้บนกระดาน พร้อมทั้งเขียนสะกดคำอ่านให้นักเรียนดู
- นักเรียนสังเกตการณ์สะกดคำ ที่เปลี่ยนเป็น “ซ” พร้อมทั้งค้นหาคำศัพท์ในนิทานสั้นๆ
- นักเรียนทำใบงานแยกคำควบกล้ำแท้ กับคำควบกล้ำไม่แท้
- นักเรียนเลือกคำที่เป็นคำควบกล้ำแท้ กับคำควบกล้ำไม่แท้อย่างละ ๓ คำ มาแต่งเป็นเรื่องราวตามจินตนาการ ๑ เรื่อง
- ครูและนักเรียนทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่องคำควบกล้ำไปพร้อมๆ กันอีกครั้ง

ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
นำเสนอ และทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องคำควบกล้ำที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน :
- การ์ตูนช่อง
- ใบงาน
- เรื่องราวตามจินตนาการ
ความรู้ :
นักเรียนสามารถอ่าน และเขียน แยกแยะคำควบกล้ำแท้กับคำควบกล้ำไม่แท้ได้ สามารถนำคำคำควบกล้ำไม่แท้มาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน




Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๒ – ๑๖
ธ.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ผจญป่า
- คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
คำถาม :
- สีเทาบินตามหาแม่ที่ไหน เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในขณะนั้นบ้าง?
- นักเรียนสามารถเขียนคำที่ประวิสรรชนีย์ และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ถูกต้องอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Key Questions 
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ผจญป่า
- บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ผจญป่า พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง และทำการ์ตูนช่องสรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นในตอนนี้
- ครูใบ้คำให้นักเรียนทาย (เกี่ยวกับคำประวิสรรชนีย์)
- ครูนำบัตรคำที่ใบ้ ให้นักเรียนดู และให้นักเรียนสังเกตข้อแตกต่าง
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้เกี่ยวกับคำประวิสรรชนีย์ และเพิ่มเติมคำศัพท์ใหม่ให้
- นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่คำประวิสรรชนีย์ และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ลงในชาร์ทตาราง
- ค้นหาคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ จากหนังสือนิทาน
- นำคำศัพท์ที่ได้ เขียนลงจานกระดาษที่แบ่งส่วน ๘ ส่วน พร้อมทั้งวาดภาพระบายสี
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชิ้นงาน
- นักเรียนเลือกคำประวิสรรชนีย์ และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์อย่างละ ๓ คำ มาแต่งเป็นนิทานตามจินตนาการ
- ครูและนักเรียนทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่องคำประวิสรรชนีย์ และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ไปพร้อมๆ กันอีกครั้ง

ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
- การวิเคราะห์จัดหมวดหมู่คำศัพท์คำประวิสรรชนีย์ และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
ชิ้นงาน :
- การ์ตูนช่อง
- จานกระดาษคำศัพท์
- นิทานตามจินตนาการ
ความรู้ :
นักเรียนสามารถอ่านและเขียน แยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้ เข้าใจและนำมาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ได้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน




Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๙ – ๒๓
ธ.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน กลับสู่อ้อมอก
- คำคล้องจอง
คำถาม :
- สีเทาเจอกับแม่ที่ใด หากนักเรียนเป็นสีเทานักเรียนจะรู้สึกอย่างไรที่ต้องพลัดพลาดจากแม่?
เครื่องมือคิด :
- Key Questions 
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน กลับสู่อ้อมอก
- บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน กลับสู่อ้อมอก พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง และทำการ์ตูนช่องสรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นในตอนนี้
- ครูพานั่งเรียนนั่งเป็นวงกลม แล้วครูพูดคำขึ้นมาหนึ่งคำ แล้วให้นักเรียนพูดต่อกันในสระเดียวกันที่ครูพูด เชื่อมต่อกันไปเรื่อยๆ จนครบทุกคน
- ครูให้นักเรียนช่วยกันคิดคำ โดยครูจะเขียนคำไว้แค่คำเดียวบนกระดาน เช่น ดี ปู ตา เป็นต้น
- ให้นักเรียนช่วยเติมคำที่เป็นสระเดียวกันบนกระดาษ
- นักเรียนทำใบงานเติมคำ
- ครูนำบทคล้องจองสองพยางค์มาให้นักเรียนดู และช่วยกันอ่าน
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ และสังเกตคำที่คล้องจองกัน
- นักเรียนคัดบทคล้องจองลงในสมุด
- ครูนำแถบคำสองพยางค์มาให้นักเรียนสังเกต และช่วยกันเรียงใหม่ ให้คล้องจองกันตามความเข้าใจของนักเรียนก่อน
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนหลังจากที่เรียงแถบคำ และช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่มเขียนคำคล้องจองสองพยางค์ ๑๐ คำ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอชิ้นงาน
- ครูและนักเรียนทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่องคำคล้องจองไปพร้อมๆ กันอีกครั้ง
ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน :
- การ์ตูนช่อง
- ใบงาน
- คำคล้องจอง ๒ พยางค์
ความรู้ :
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำคล้องจองได้อย่างถูกต้องสร้างสรรค์ และสามารถแต่งคำคล้องจองเองได้อย่างง่ายๆ ใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานอ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน


Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๐
๒๖ – ๒๘
ธ.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
ถอดบทเรียนใน Quarter3
คำถาม :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากวรรณกรรมคุณกบกับคุณคางคกบ้าง?
- นักเรียนจะสรุปและเผยแพร่สิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Key Questions
- Show and Share
- Brainstorm
- Mind Mapping
- Blackboard Share 

- คุณและนักเรียนสนทนาทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ ทั้งวรรณกรรมและหลักภาษาใน Quarter3 ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด  “นักเรียนจะนำองค์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร” , “นักเรียนคิดว่าอะไรคือสิ่งที่นักเรียนรู้แล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาต่อมีอะไรบ้าง” 
- นักเรียนเขียนสรุปสิ่งที่รู้แล้ว และสิ่งที่อยากพัฒนาต่อไป
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนเป็น Mind Mapping
- นักเรียนนำเสนอ เผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้ทั้ง Quarter3

ภาระงาน :
- การอ่านวิเคราะห์วรรณกรรม(นิทาน) เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
- การทบทวนหลักภาษาที่เรียนรู้
- การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เนื้อหาและสิ่งที่ได้เรียนรู้ รวมทั้งนิทาน วรรณกรรมที่อ่าน
- การนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้/ชิ้นงาน
ชิ้นงาน :
- สิ่งที่รู้แล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนาต่อไป
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ทั้ง Quarter 3
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้ในเรื่องที่เรียนในQuarter 3 และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้  สามารถสรุปใจความสำคัญ สาระสำคัญของหนังสือที่อ่านและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งเข้าใจในหลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter 3 สามารถอธิบาย หลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter 3 ได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน